KPI การวัดผลลงทุนของผม Ver. 1.000
การที่เราจะทำอะไรหลายๆ ครั้ง เรามักต้องมีเป้าหมายในชีวิต เพื่อให้รู้ว่าจุดสิ้นสุดของการกระทำนั้นๆ อยู่ที่ไหน อาจเป็นเป้าหมายเล็กๆ ที่ทำได้ในไม่กี่นาที หรือ เป้าหมายใหญ่ๆ ที่อาจทำหลายชั่วรุ่น ก็ตาม แต่การจะรู้ว่ากิจกรรมนั้นๆ เราทำได้ดีแค่ไหน อาจต้องมีอะไรบ้างบางอย่างมาชี้วัด เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพของสิ่งที่เราทำลงไป
ในการบริหารจัดการยุคใหม่ จะมีตัววัดที่เรียกว่า KPI Key performance indicator ไว้สำหรับ ชี้วัดผลงานนั้นๆ เหมือนการที่เราเป้าหมายอะไรสักอย่างนึง มาประเมินตัวเองว่า เราสามารถทำตามกรอบที่ตั้งไว้เท่าไร
ซึ่งผมว่าเราสามารถนำมาประยุกต์ได้ว่า แต่ละคน จะมี KPI ในการวัดตัวเองอย่างไรบ้าง แต่พวกนี้ที่สำคัญคือวินัยการลงทุน ที่ต้องเพิ่มกฎให้ตัวเองมาในการสร้างตัววัดส่วนบุคคลด้วยครับ
ซึ่งผมจะลองสร้างดูเล่นๆ เป็น โปรเจคส่วนตัวไว้ทำการวัดผลลงทุนไว้ตามมุมมองต่างๆ
ด้านการเงินเพื่อลงทุน
• เก็บออมได้จำนวน xxxx บาท/เดือน/ปี
• นำเงินปันผลกลับมาลงทุน xxx%
• ถอนเงินออกมาใช้ xxxx บาท/ปี
• ดอกเบี้ยที่ได้รับจากเงินสด xxx บาท/เดือน/ปี
• ต้นทุนที่อยู่ในหุ้นเพิ่ม xxx บาท/ปี
• กำไรที่อยู่ในหุ้น xxx บาท/ปี
• มูลค่าพอร์ต xxxxxxx บาท/ปี
ด้านการเลือกหุ้น
• ประเภทหุ้น
o หุ้นประเภทเติบโตช้า 0-3 คะแนน
o หุ้นแข็งแกร่ง 2-6
o หุ้นโตเร็ว 3-8
o หุ้นวัฎจักร, หุ้นสินทรัพย์มาก 4-7
o หุ้นฟื้นตัว 5-9
• สามารถอธิบายธุรกิจ
o ลูกค้า
o คู่แข่ง
o ผู้จัดซื้อ
o วัตถุดิบ
o สินค้า
o แนวโน้มตลาด อุตสาหกรรม
• ความแข็งแกร่งของงบการเงิน
o เงินสด
o กระแสเงินสด + - -
o สินทรัพย์หมุนเวียน ทุนหมุนเวียน
o สินทรัพย์ระยะยาว
o หนี้สินที่มีดอก
o หนี้สินต่อทุน
o หนี้สินต่อเงินสด
o หนี้สินการค้าต่อรายได้
o หนี้สินการค้าต่อต้นทุนขาย
o สัดส่วน รายได้หลัก รายได้อื่นๆ
o กำไรขั้นต้น
o กำไรดำเนินงาน
o อัตราเติบโตของกำไร
ด้านการซื้อหุ้น
• จำนวนวันที่เข้าซื้อสัปดาห์/เดือน/ปี
• จำนวนเงินที่เข้าซื้อ/ครั้ง
• เข้าตามเทคนิคที่บอกว่า ขายมากเกินไป
ด้านการขายหุ้น
• ขายได้กำไร
• ขายขาดทุน
• สาเหตุการขาย
o ตกใจตลาด – 5 คะแนน
o เหตุผลพื้นฐานเปลี่ยนในทางแย่ลง + 10 คะแนน
o ทำกำไร ลดความเสี่ยง
o Cut loss
อันนี้ผมคิดว่าจะลองทำดู ไว้วัดตัวเองว่า มีความสามารถในการลงทุนตามที่ตั้งแบบ ไว้ได้หรือไม่ครับ โชคดีในการลงทุนครับ
ในการบริหารจัดการยุคใหม่ จะมีตัววัดที่เรียกว่า KPI Key performance indicator ไว้สำหรับ ชี้วัดผลงานนั้นๆ เหมือนการที่เราเป้าหมายอะไรสักอย่างนึง มาประเมินตัวเองว่า เราสามารถทำตามกรอบที่ตั้งไว้เท่าไร
ซึ่งผมว่าเราสามารถนำมาประยุกต์ได้ว่า แต่ละคน จะมี KPI ในการวัดตัวเองอย่างไรบ้าง แต่พวกนี้ที่สำคัญคือวินัยการลงทุน ที่ต้องเพิ่มกฎให้ตัวเองมาในการสร้างตัววัดส่วนบุคคลด้วยครับ
ซึ่งผมจะลองสร้างดูเล่นๆ เป็น โปรเจคส่วนตัวไว้ทำการวัดผลลงทุนไว้ตามมุมมองต่างๆ
เพิ่มคำอธิบายภาพ |
ด้านการเงินเพื่อลงทุน
• เก็บออมได้จำนวน xxxx บาท/เดือน/ปี
• นำเงินปันผลกลับมาลงทุน xxx%
• ถอนเงินออกมาใช้ xxxx บาท/ปี
• ดอกเบี้ยที่ได้รับจากเงินสด xxx บาท/เดือน/ปี
• ต้นทุนที่อยู่ในหุ้นเพิ่ม xxx บาท/ปี
• กำไรที่อยู่ในหุ้น xxx บาท/ปี
• มูลค่าพอร์ต xxxxxxx บาท/ปี
ด้านการเลือกหุ้น
• ประเภทหุ้น
o หุ้นประเภทเติบโตช้า 0-3 คะแนน
o หุ้นแข็งแกร่ง 2-6
o หุ้นโตเร็ว 3-8
o หุ้นวัฎจักร, หุ้นสินทรัพย์มาก 4-7
o หุ้นฟื้นตัว 5-9
• สามารถอธิบายธุรกิจ
o ลูกค้า
o คู่แข่ง
o ผู้จัดซื้อ
o วัตถุดิบ
o สินค้า
o แนวโน้มตลาด อุตสาหกรรม
• ความแข็งแกร่งของงบการเงิน
o เงินสด
o กระแสเงินสด + - -
o สินทรัพย์หมุนเวียน ทุนหมุนเวียน
o สินทรัพย์ระยะยาว
o หนี้สินที่มีดอก
o หนี้สินต่อทุน
o หนี้สินต่อเงินสด
o หนี้สินการค้าต่อรายได้
o หนี้สินการค้าต่อต้นทุนขาย
o สัดส่วน รายได้หลัก รายได้อื่นๆ
o กำไรขั้นต้น
o กำไรดำเนินงาน
o อัตราเติบโตของกำไร
ด้านการซื้อหุ้น
• จำนวนวันที่เข้าซื้อสัปดาห์/เดือน/ปี
• จำนวนเงินที่เข้าซื้อ/ครั้ง
• เข้าตามเทคนิคที่บอกว่า ขายมากเกินไป
ด้านการขายหุ้น
• ขายได้กำไร
• ขายขาดทุน
• สาเหตุการขาย
o ตกใจตลาด – 5 คะแนน
o เหตุผลพื้นฐานเปลี่ยนในทางแย่ลง + 10 คะแนน
o ทำกำไร ลดความเสี่ยง
o Cut loss
อันนี้ผมคิดว่าจะลองทำดู ไว้วัดตัวเองว่า มีความสามารถในการลงทุนตามที่ตั้งแบบ ไว้ได้หรือไม่ครับ โชคดีในการลงทุนครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น