การเพิ่มมูลค่าให้กับสินทรัพย์และตัวเอง
การเพิ่มมูลค่า Value added เป็นเรื่่องที่ผมได้ยินมากในวิชาเศรษฐศาสตร์ตอนปริญญาตรี ซึ่งเป็นหลักการสำคัญอย่างนั้น ที่จะสามารถทำให้เราขายสินค้าได้ง่ายขึ้น ได้เปรียบมากขึ้นต่อคู่แข่ง และผู้บริโภค
การเพิ่มมูลค่านั้้นส่วนใหญ่จะไปลงที่ความคิดสร้างสรรค์มากกว่า ไม่ว่าจะเป็นเชิงออกแบบ ผลิตภัณฑ์ สินค้า การบรรจุหีบห่อ เพื่อให้สินค้าดูดีขึ้น สวยงามขึ้น น่าใช้ขึ้น แต่สิ่งที่่ออกแบบให้สามารถมีประโยชน์การใช้สอยให้มากขึ้น ถือว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าได้มากกว่าการออกแบบเชิงความสวยงาม
เป็นที่มาของคำว่า นวตกรรม นั้นเองครับ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์นั้นมุ่งเน้นให้สร้างนวตกรรม เพื่อ เพิ่มมูลค่าสินค้า หรือ เพิ่มลูกค้ากลุ่มใหม่ นั้นเอง
นวตกรรม นั้น มีได้ทั้งสินค้า บริการ ในยุคปี 2000 เป็นต้นมา มักใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กัน เพื่อสร้างนวตกรรมใหม่ และ ลดต้นทุนลงได้ด้วย เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน, ตุ๊กตาเฟอบี้, Smart Phone เป็นต้น
นั้นคือสินค้าที่ทำการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวเอง คือจัดสรร เทคโนโลยี การออกแบบ การสร้างนวตกรรม เป็นต้น
คราวนี้ถ้ามาลองดูพวกอสังหาริมทรัพย์บ้าง สมัยก่อนมักนิยมลงทุนในที่ดิน มักจะซื้อที่เปล่า เก็บไว้แล้วไม่ทำไรกัน รอให้เวลาผ่านไปที่จะแพงขึ้นเอง ด้วยเงินเฟ้อ พอถึงุจุดนึง ที่ดินที่ไม่มีการพัฒนา ราคาจะสูงขึ้นไม่มาก
แต่ถ้ามี ถนนมาผ่าน น้ำ ไฟ เข้าถึง มีสาธาณูปโภคมาลง ไม่ว่า ไฟฟ้า น้ำ น้ำประปา โรงเรียน หมู่บ้าน โรงพยาบาล สวน ไร่ ห้าง หรือ อื่น พวกนี้จะมีราคาสูงขึ้นเองโดยธรรมชาติ เพราะจะมีมูลค่ามากขึ้น ไม่ว่าจะอยู่อาศัยหรือทำการค้าขาย ธุรกิจต่างๆ เพราะโดยตัวมันเองจะมีมูลค่ามากขึ้นอยู่แล้ว
สุดท้าย ถ้าเราต้องการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวเราเอง นั้น ผมก็มองได้ไม่กี่อย่าง เช่น
ลงทุนกับรูปร่างภายนอก
ลงทุนกับทักษะและความรู้
ลงทุนกับจิตใจตัวเอง
การลงทุนเรานี้ ผมเชื่อเสมอว่า มันสร้างมูลค่าบางอย่างให้เราได้เองครับ ไม่ว่าหน้าตา บุคคลิกดี โอกาสก้าวหน้าจะง่ายกว่า มีความรู้ ทักษะสูง อันนี้คือสิ่งจำเป็นในการทำงานหาเลี้ยง และสุดท้ายลงทุนทำให้จิตตัวเองสูงขึ้น ชีวิตจะดีขึ้นโดยไม่ต้องพึ่งอะไรเลย
ซึ่งจากที่กล่าวมานั้น ไม่ว่าจะเป็น สินค้า อสังหา และมนุษย์นั้น จะมีมูลค่าในตัวเองอยู่แล้ว แต่เราสามารถเพิ่มมูลค่าเหล่านั้นได้ ในวิธีที่ต่างกันตามแต่ละโอกาสครับ ในฐานะนักลงทุนผมอย่างให้ทุกสิ่งในรอบๆ ตัวเรานั้น ต้องมีมูลค่าสูงขึ้นตามกาลเวลา และถ้าเราสามารถเร่งมันได้ ก็ถือว่าเป็นโชคดีสำหรับตัวเราเองครับ
สุดท้าย ขอให้ทุกท่านโชคดีในการลงทุนนะครับ
การเพิ่มมูลค่านั้้นส่วนใหญ่จะไปลงที่ความคิดสร้างสรรค์มากกว่า ไม่ว่าจะเป็นเชิงออกแบบ ผลิตภัณฑ์ สินค้า การบรรจุหีบห่อ เพื่อให้สินค้าดูดีขึ้น สวยงามขึ้น น่าใช้ขึ้น แต่สิ่งที่่ออกแบบให้สามารถมีประโยชน์การใช้สอยให้มากขึ้น ถือว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าได้มากกว่าการออกแบบเชิงความสวยงาม
เป็นที่มาของคำว่า นวตกรรม นั้นเองครับ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์นั้นมุ่งเน้นให้สร้างนวตกรรม เพื่อ เพิ่มมูลค่าสินค้า หรือ เพิ่มลูกค้ากลุ่มใหม่ นั้นเอง
นวตกรรม นั้น มีได้ทั้งสินค้า บริการ ในยุคปี 2000 เป็นต้นมา มักใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กัน เพื่อสร้างนวตกรรมใหม่ และ ลดต้นทุนลงได้ด้วย เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน, ตุ๊กตาเฟอบี้, Smart Phone เป็นต้น
นั้นคือสินค้าที่ทำการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวเอง คือจัดสรร เทคโนโลยี การออกแบบ การสร้างนวตกรรม เป็นต้น
คราวนี้ถ้ามาลองดูพวกอสังหาริมทรัพย์บ้าง สมัยก่อนมักนิยมลงทุนในที่ดิน มักจะซื้อที่เปล่า เก็บไว้แล้วไม่ทำไรกัน รอให้เวลาผ่านไปที่จะแพงขึ้นเอง ด้วยเงินเฟ้อ พอถึงุจุดนึง ที่ดินที่ไม่มีการพัฒนา ราคาจะสูงขึ้นไม่มาก
แต่ถ้ามี ถนนมาผ่าน น้ำ ไฟ เข้าถึง มีสาธาณูปโภคมาลง ไม่ว่า ไฟฟ้า น้ำ น้ำประปา โรงเรียน หมู่บ้าน โรงพยาบาล สวน ไร่ ห้าง หรือ อื่น พวกนี้จะมีราคาสูงขึ้นเองโดยธรรมชาติ เพราะจะมีมูลค่ามากขึ้น ไม่ว่าจะอยู่อาศัยหรือทำการค้าขาย ธุรกิจต่างๆ เพราะโดยตัวมันเองจะมีมูลค่ามากขึ้นอยู่แล้ว
สุดท้าย ถ้าเราต้องการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวเราเอง นั้น ผมก็มองได้ไม่กี่อย่าง เช่น
ลงทุนกับรูปร่างภายนอก
ลงทุนกับทักษะและความรู้
ลงทุนกับจิตใจตัวเอง
การลงทุนเรานี้ ผมเชื่อเสมอว่า มันสร้างมูลค่าบางอย่างให้เราได้เองครับ ไม่ว่าหน้าตา บุคคลิกดี โอกาสก้าวหน้าจะง่ายกว่า มีความรู้ ทักษะสูง อันนี้คือสิ่งจำเป็นในการทำงานหาเลี้ยง และสุดท้ายลงทุนทำให้จิตตัวเองสูงขึ้น ชีวิตจะดีขึ้นโดยไม่ต้องพึ่งอะไรเลย
ซึ่งจากที่กล่าวมานั้น ไม่ว่าจะเป็น สินค้า อสังหา และมนุษย์นั้น จะมีมูลค่าในตัวเองอยู่แล้ว แต่เราสามารถเพิ่มมูลค่าเหล่านั้นได้ ในวิธีที่ต่างกันตามแต่ละโอกาสครับ ในฐานะนักลงทุนผมอย่างให้ทุกสิ่งในรอบๆ ตัวเรานั้น ต้องมีมูลค่าสูงขึ้นตามกาลเวลา และถ้าเราสามารถเร่งมันได้ ก็ถือว่าเป็นโชคดีสำหรับตัวเราเองครับ
สุดท้าย ขอให้ทุกท่านโชคดีในการลงทุนนะครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น