รู้จักธุรกิจโรงผลิตไฟฟ้า Electric Power Production
ธุรกิจโรงผลิตไฟฟ้าเป็นอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานซึ่งมีบริษัทผลิตไฟฟ้าจำนวนหนึ่งอยู่ในบริษัทมหาชน หรือ มีหุ้นให้เราซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ให้เราได้ลงทุน
พอพูดถึงพลังงานเป็นธุรกิจผลิตไฟฟ้าเป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนสูง ในอดีตถือเป็นธุรกิจของภาครัฐ คือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย http://www.egat.co.th/ จัดการโดยรัฐวิสาหกิจ แต่พอประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สากลมากขึ้น รวมถึงการเข้าสู่เศรษฐกิจทุนนิยม ธุรกิจที่ต้องลงทุนหนักๆ และผูกขาดโดยภาครัฐ ก็ต้องเปิดให้เอกชนมาเข้ามาผลิตด้วย ด้วยเหตุผลดังนี้
1. เพิ่มการแข่งขันในกิจการพลังงาน ทําให้กิจการพลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และผู้บริโภค
มีพลังงาน ใช้อย่างเพียงพอในราคาที่เหมาะสม
2. ลดภาระการลงทุนของรัฐและลดภาระหนี้สินของรัฐ/ประเทศ
3. ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ในกรณีของโครงการผู้ผลิตไฟฟ้า
รายเล็ก (SPP) ซึ่งใช้ระบบพลังงานความร้อนร่วม (Cogeneration) เป็นต้น
4. ทําให้ผู้ใช้ไฟฟ้าได้รับบริการและคุณภาพไฟฟ้าที่ดีขึ้น
5. สนับสนุนให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการพัฒนากิจการด้านพลังงานของประเทศ
6. ช่วยพัฒนาตลาดทุน (ผมชอบข้อนี้สุด)
http://www.eppo.go.th/power/powerN/File/(1).pdf ที่มาจากกระทรวงพลังงงาน ซึ่งปี 2532 เป็นยุคเปิดให้เอกชนมามีส่วนในการผลิตไฟฟ้าให้กับประเทศไทย
ซึ่งจากข้อมูลของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ทำให้ผมเห็นอย่างนึ่งจากรูปกราฟคือ http://www.egat.co.th/index.php?option=com_egatstatistics&Itemid=881&view=hellos&key=1
ความต้องการไฟฟ้าของประเทศไทยนั้น มีแนวโน้มสูงทุกปีขึ้นเกือบทุกปี และถ้าดูกราฟระยะยาวก็ต้องบอกว่า อยู่ในขาขึ้นอยู่
ดังนั้นก็เป้นอย่างนึงที่ยืนยันได้ว่า ความต้องการสูงขึ้น ดังนั้น ผู้ผลิตก็มีโอกาสเข้ามาในตลาดได้มากขึ้น ซึ่งก็ยังเป็นได้ว่า ตลาดได้ขยายทั้งฝั่ง ผู้บริโภค Demand และ ผู้ผลิต Supply
ส่วนด้านเชื้อเพลิงที่เป็นต้นทุนใช้ผลิตส่วนใหญ่แบ่งเป็น
- น้ำ (ส่วนใหญ่เป็นเขื่อน เอกชนไม่สามารถมีได้)
- น้ำมัน
- ก๊าซธรรมชาติ
- ถ่านหิน
- พลังงานทดแทน (กากน้ำตาล ไบโอดีเซล ขยะ)
จากแหล่งข้อมูลเดียวกันกับ สถิติความต้องการไฟฟ้า เราจะเห็นได้ว่า ต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงของประเทศไทยอยู่ที่ ก๊าชธรรมชาติ ประมาณ 65% ดังนั้น เมื่อมีการปิดบำรุงท่อส่งก๊าซ เราจะเห็นว่าเป็นเรื่องใหญ่ระดับประเทศเลยทีเดียว
ส่วนด้านต้นทุนเชื้อเพลิง ส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ทั้งนั้น ไม่ว่า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำมัน มีราคาผันผวนตามตลาดโลก ซึ่งมีผลต่อต้นทุนการผลิต
ในปัจจุบัน มีบริษัทมหาชนหลายบริษัทได้เข้ามาร่วมธุรกิจการผลิตไฟฟ้า และพอออกข่าว ก็มีราคาวิ่งเหมือนกัน แต่ขอให้นักลงทุนศึกษาได้ว่า การผลิตไฟฟ้านั้น มีต้นทุนอย่างไร กำไรเท่าไร
โดยปัจจุบ้นการแบ่งผู้ผลิตไฟฟ้า มี 3 แบบ คือ
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (ไอพีพี)
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (เอสพีพี)
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (วีเอสพีพี)
ซึ่งผมจะหารายละเอียดในคราวต่อไปนะครับ
พอพูดถึงพลังงานเป็นธุรกิจผลิตไฟฟ้าเป็นธุรกิจที่ต้องลงทุนสูง ในอดีตถือเป็นธุรกิจของภาครัฐ คือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย http://www.egat.co.th/ จัดการโดยรัฐวิสาหกิจ แต่พอประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สากลมากขึ้น รวมถึงการเข้าสู่เศรษฐกิจทุนนิยม ธุรกิจที่ต้องลงทุนหนักๆ และผูกขาดโดยภาครัฐ ก็ต้องเปิดให้เอกชนมาเข้ามาผลิตด้วย ด้วยเหตุผลดังนี้
1. เพิ่มการแข่งขันในกิจการพลังงาน ทําให้กิจการพลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น และผู้บริโภค
มีพลังงาน ใช้อย่างเพียงพอในราคาที่เหมาะสม
2. ลดภาระการลงทุนของรัฐและลดภาระหนี้สินของรัฐ/ประเทศ
3. ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ในกรณีของโครงการผู้ผลิตไฟฟ้า
รายเล็ก (SPP) ซึ่งใช้ระบบพลังงานความร้อนร่วม (Cogeneration) เป็นต้น
4. ทําให้ผู้ใช้ไฟฟ้าได้รับบริการและคุณภาพไฟฟ้าที่ดีขึ้น
5. สนับสนุนให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการพัฒนากิจการด้านพลังงานของประเทศ
6. ช่วยพัฒนาตลาดทุน (ผมชอบข้อนี้สุด)
http://www.eppo.go.th/power/powerN/File/(1).pdf ที่มาจากกระทรวงพลังงงาน ซึ่งปี 2532 เป็นยุคเปิดให้เอกชนมามีส่วนในการผลิตไฟฟ้าให้กับประเทศไทย
ซึ่งจากข้อมูลของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ทำให้ผมเห็นอย่างนึ่งจากรูปกราฟคือ http://www.egat.co.th/index.php?option=com_egatstatistics&Itemid=881&view=hellos&key=1
ความต้องการไฟฟ้าของประเทศไทยนั้น มีแนวโน้มสูงทุกปีขึ้นเกือบทุกปี และถ้าดูกราฟระยะยาวก็ต้องบอกว่า อยู่ในขาขึ้นอยู่
ดังนั้นก็เป้นอย่างนึงที่ยืนยันได้ว่า ความต้องการสูงขึ้น ดังนั้น ผู้ผลิตก็มีโอกาสเข้ามาในตลาดได้มากขึ้น ซึ่งก็ยังเป็นได้ว่า ตลาดได้ขยายทั้งฝั่ง ผู้บริโภค Demand และ ผู้ผลิต Supply
ส่วนด้านเชื้อเพลิงที่เป็นต้นทุนใช้ผลิตส่วนใหญ่แบ่งเป็น
- น้ำ (ส่วนใหญ่เป็นเขื่อน เอกชนไม่สามารถมีได้)
- น้ำมัน
- ก๊าซธรรมชาติ
- ถ่านหิน
- พลังงานทดแทน (กากน้ำตาล ไบโอดีเซล ขยะ)
จากแหล่งข้อมูลเดียวกันกับ สถิติความต้องการไฟฟ้า เราจะเห็นได้ว่า ต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงของประเทศไทยอยู่ที่ ก๊าชธรรมชาติ ประมาณ 65% ดังนั้น เมื่อมีการปิดบำรุงท่อส่งก๊าซ เราจะเห็นว่าเป็นเรื่องใหญ่ระดับประเทศเลยทีเดียว
ส่วนด้านต้นทุนเชื้อเพลิง ส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ทั้งนั้น ไม่ว่า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำมัน มีราคาผันผวนตามตลาดโลก ซึ่งมีผลต่อต้นทุนการผลิต
ในปัจจุบัน มีบริษัทมหาชนหลายบริษัทได้เข้ามาร่วมธุรกิจการผลิตไฟฟ้า และพอออกข่าว ก็มีราคาวิ่งเหมือนกัน แต่ขอให้นักลงทุนศึกษาได้ว่า การผลิตไฟฟ้านั้น มีต้นทุนอย่างไร กำไรเท่าไร
โดยปัจจุบ้นการแบ่งผู้ผลิตไฟฟ้า มี 3 แบบ คือ
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (ไอพีพี)
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (เอสพีพี)
ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (วีเอสพีพี)
ซึ่งผมจะหารายละเอียดในคราวต่อไปนะครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น