การออมกับการลงทุน : เงินทุนเกิดมาจากไหน ภาคองค์กร
เงินทุนเกิดมาจากไหน คำถามนี้ผมเองก็ไม่ค่อยแน่ใจเหมือนว่าจะตอบถูกไหม เพราะมันมาจากหลายแหล่ง และหลายผู้ใช้ แต่บทความนี้ผมจะลองมุ่งไปที่ทุนของทางองค์กร หรือ บริษัท ก่อนนะครับ
ไม่ว่าจะเป็นเงินทุนส่วนตัว ส่วนบุคคล เงินกู้ กำไรของบริษัท ของประเทศ แต่จากที่ผมสังเกตุธรรมชาติของเงินทุน และจากปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ด้วยเกรดอันน้อยนิดของผม
จากที่เคยสังเกตุคือ เงินทุนนำคือเงินที่นำไปใช้ไปลงทุนเพื่อให้ได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งมา ดังนั้น เงินทุน คือ เงินที่นำไปลงทุน ต้องได้ผลตอบแทน ไม่ว่ารูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ดอกเบี้ย กำไร ความพึงพอใจ และ อรรถประโยชน์
เมื่อเราจะลงทุนอะไรส่วนใหญ่จะคิดเรื่องแรกคือ มี (เงิน)ทุนเท่าไร โดยส่วนใหญ่เงินจะบรรดาล อะไรมาได้ง่ายกว่าถ้าไม่มีเงินครับ
ดังนั้นเราต้องการเงินมาทำทุนครับ
ข้อสรุปง่ายๆ ที่ได้จากการสังเกตุและผสมๆกับวิชาความรู้เศรษฐศาสตร์ที่ผมเรียน
ดังนั้นถ้าเป็นบริษัท เมื่อได้กำไร จะทำการปันผล กี่ % จากกำไรก็ว่ากันไปตามนโยบายของแต่ละบริษัท แต่ผมเองก็ไม่เคยเจอบริษัทไหนปันผล 100 % จากกำไร และอย่างวอร์เรน บัตเฟต ก็จะชอบมากสำหรับบริษัทที่ได้กำไรแต่ไม่ปันผลเลย
ซึ่งจากข้อสังเกตุ ว่าเค้าเอากำไรไปทำอะไร คำตอบคือ(น่าจะ) นำเงินกำไรนั้นไปขยายกิจการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของบริษัท หรือง่ายๆ ว่าไปลงทุนเพิ่มเพื่อได้ประสิทธิของบริษัทที่ดีขึ้นนั้นเอง
แหล่งเงินทุนแบบนี้ก็คือ ได้กำไรแล้วไปลงทุนเพิ่ม เพื่อขยายกิจการนั้นเอง
แบบต่อมา ก็ กู้มาลงทุน เมื่อกู้ก็จะมีการจ่ายดอกเบี้ยต่อเงินกู้ แต่คนกู้ต้องมั่นใจว่ามีความสามารถชำระหนี้ได้ ถึงได้กู้มาเป็นเงินทุน นี้ก็เป็นอีกแบบ เห็นบ่อยสำเร็จพวกบริษัทใหญ่ๆ จนไปถึง มนุษย์เงินเดือนที่เตรียมเป็นผู้ประกอบการ จะนิยมหาเงินทุนแบบนี้
แต่การกู้นี้มีดอกเบี้ยเป็นต้นทุนทางการเงินครับ ซึ่งเป็นอีกเรื่องที่เราต้องหาแหล่งเงินที่ต้นทุนทางการเงินน้อยสุดมาใช้ให้ได้
ถ้าเป็นบริษัท อาจใช้วิธีการหาเงินทุนที่ต้นทุนต่ำกว่าบุคคลธรรมดา เช่น
การนำหุ้นเข้าตลาดหลักทรัพย์ ต้นทุนถือว่าต่ำเพราะไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ย แถมบริหารงานดีๆ อาจทำให้ขยายมูลค่าบริษัทอย่างมหาศาลด้วย
ออกหุ้นกู้ ซึ่งอาจมีต้นทุนถูกกว่าการกู้ธนาคาร
และสุดท้ายก็กู้ครับ ไม่ว่าจากธนาคาร สถาบันการเงินรูปแบบต่างๆ ซึ่งก็จะมีต้นทุน หรือ ดอกเบี้ยการกู้แตกต่างกันไปครับ เป็นฝืมือ ของ CFO แต่ละบริษัท หรือ องค์กรว่าจะบริหารเงินอย่างไร
อันนี้เป็นเรื่องไม่ใกล้ตัวเท่าไร รวมถึงผมด้วย ในบทความต่อไปจะผู้เงินทุนภาคบุคคลทั่วไปบ้างครับ
ไม่ว่าจะเป็นเงินทุนส่วนตัว ส่วนบุคคล เงินกู้ กำไรของบริษัท ของประเทศ แต่จากที่ผมสังเกตุธรรมชาติของเงินทุน และจากปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ด้วยเกรดอันน้อยนิดของผม
จากที่เคยสังเกตุคือ เงินทุนนำคือเงินที่นำไปใช้ไปลงทุนเพื่อให้ได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งมา ดังนั้น เงินทุน คือ เงินที่นำไปลงทุน ต้องได้ผลตอบแทน ไม่ว่ารูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ดอกเบี้ย กำไร ความพึงพอใจ และ อรรถประโยชน์
เมื่อเราจะลงทุนอะไรส่วนใหญ่จะคิดเรื่องแรกคือ มี (เงิน)ทุนเท่าไร โดยส่วนใหญ่เงินจะบรรดาล อะไรมาได้ง่ายกว่าถ้าไม่มีเงินครับ
ดังนั้นเราต้องการเงินมาทำทุนครับ
ข้อสรุปง่ายๆ ที่ได้จากการสังเกตุและผสมๆกับวิชาความรู้เศรษฐศาสตร์ที่ผมเรียน
ดังนั้นถ้าเป็นบริษัท เมื่อได้กำไร จะทำการปันผล กี่ % จากกำไรก็ว่ากันไปตามนโยบายของแต่ละบริษัท แต่ผมเองก็ไม่เคยเจอบริษัทไหนปันผล 100 % จากกำไร และอย่างวอร์เรน บัตเฟต ก็จะชอบมากสำหรับบริษัทที่ได้กำไรแต่ไม่ปันผลเลย
ซึ่งจากข้อสังเกตุ ว่าเค้าเอากำไรไปทำอะไร คำตอบคือ(น่าจะ) นำเงินกำไรนั้นไปขยายกิจการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของบริษัท หรือง่ายๆ ว่าไปลงทุนเพิ่มเพื่อได้ประสิทธิของบริษัทที่ดีขึ้นนั้นเอง
แหล่งเงินทุนแบบนี้ก็คือ ได้กำไรแล้วไปลงทุนเพิ่ม เพื่อขยายกิจการนั้นเอง
แบบต่อมา ก็ กู้มาลงทุน เมื่อกู้ก็จะมีการจ่ายดอกเบี้ยต่อเงินกู้ แต่คนกู้ต้องมั่นใจว่ามีความสามารถชำระหนี้ได้ ถึงได้กู้มาเป็นเงินทุน นี้ก็เป็นอีกแบบ เห็นบ่อยสำเร็จพวกบริษัทใหญ่ๆ จนไปถึง มนุษย์เงินเดือนที่เตรียมเป็นผู้ประกอบการ จะนิยมหาเงินทุนแบบนี้
แต่การกู้นี้มีดอกเบี้ยเป็นต้นทุนทางการเงินครับ ซึ่งเป็นอีกเรื่องที่เราต้องหาแหล่งเงินที่ต้นทุนทางการเงินน้อยสุดมาใช้ให้ได้
ถ้าเป็นบริษัท อาจใช้วิธีการหาเงินทุนที่ต้นทุนต่ำกว่าบุคคลธรรมดา เช่น
การนำหุ้นเข้าตลาดหลักทรัพย์ ต้นทุนถือว่าต่ำเพราะไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ย แถมบริหารงานดีๆ อาจทำให้ขยายมูลค่าบริษัทอย่างมหาศาลด้วย
ออกหุ้นกู้ ซึ่งอาจมีต้นทุนถูกกว่าการกู้ธนาคาร
และสุดท้ายก็กู้ครับ ไม่ว่าจากธนาคาร สถาบันการเงินรูปแบบต่างๆ ซึ่งก็จะมีต้นทุน หรือ ดอกเบี้ยการกู้แตกต่างกันไปครับ เป็นฝืมือ ของ CFO แต่ละบริษัท หรือ องค์กรว่าจะบริหารเงินอย่างไร
อันนี้เป็นเรื่องไม่ใกล้ตัวเท่าไร รวมถึงผมด้วย ในบทความต่อไปจะผู้เงินทุนภาคบุคคลทั่วไปบ้างครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น