ความเสี่ยงในการลงทุนคือเพื่อนร่วมทางคุณตลอดไป (3): Cut lose is The best
พูดเรื่องความเสี่ยงมาก 2 บทความแล้ว คราวนี้ผมจะมาพูดถึงวิธีจำกัดความเสี่ยงในการลงทุนให้นะครับ
จากกรณีความเสี่ยงด้านไม่ดีที่จะเกิดขึ้นในบทความที่ 1 ที่ผมได้กล่าวไว้
ผมขออนุญาติตัดกรณี -100% ทิ้งไปก่อนนะครับ แม้ความเสียหายรุนแรงสุดแต่โอกาศเกิดก็น้อยมากครับ
โอกาสเกิดคือ บริษัทล้มละลาย ซึ่งก็ควรดูให้ดีๆนะครับ เราสามารถดูได้จากงบการเงินบริษัทไว้อธิบายในโอกาสต่อไป
ก็เหลือ
ถ้าหุ้น - 5 % เป็น 9,500 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
ถ้าหุ้น - 10% เป็น 9,000 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
ถ้าหุ้น -50% เป็น 5,000 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
นั้นละครับ ความจริงอาจต้องแตกแยกกว่านี้อีก ให้ได้ครบทุกกรณี
แต่ผมจะให้คุณคิดว่า ความยอมรับผลการขาดทุนได้มากขนาดไหนก่อน มีเงินอยู่ 10,000 บาท ยอมขาดทุนเท่าไร แล้วค่อยมาดูกันว่าวิธีจำกัดความเสี่ยงคืออะไร
........................................................
........................................
...........................
..................
...........
.....
.
คิดว่าน่าจะได้คำตอบกันแล้ว
วิธีการจำกัดความเสี่ยง หลายคนอาจรู้จักแล้ว แต่ถ้ายังไม่รู้จัก ก็เรียกว่า ยังไม่ใช้นักลงทุนหรอกนะครับ
วิธีนั้นคือ Cut lose หรือ ตัีดขาดทุน
Cut lose คือการตัดขาดทุน คุณยอมขายหุ้นในราคาขาดทุนที่ยอมรับได้ ดีกว่าปล่อยให้ราคาหุ้นคุณเป็นไปตามยถากรรมโดยไม่รู้ว่ามันจะไปในทิศทางไหน
วิธีการทำง่ายๆ หลัก Cutlose หรือ ตัดขาดทุน คือ เราตั้งเป้า ตัดขาดทุนไว้ 10% ถ้าหุ้น 10,000 บาท ราคาตกมา 9,000 ก็ขายทิ้ง เอาเงิน 9000 ไปลงทุนในจังหวะอื่น
ซึ่งความเสี่ยงที่เกิดขึ้น มันอาจเด้งกลับไปที่เดิม หรือ ราคาดีกว่าเดิม ก็มีโอกาสเป็นไปได้ แต่นั้นเป็นสิ่งที่เราไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต แต่ที่แน่นอนปัจจุบัน คือราคามันขาดทุน แล้วความเสี่ยงนั้นก็มีโอกาสทำให้เราขาดทุนอีกได้
ซึ่งถ้าเราปล่อยตามยถากรรม เราอาจบอกได้ว่าเราเป็นนักลงทุนแบบพื้นฐาน(โดยจำเป็น) ก็ได้ แต่หลอกตัวเองนี้มันลำบากนะครับ
ถ้าเรายอมรับการขาดทุนได้ แล้วตัดใจ cutlose เรายังสามารถ หยุดการขาดทุนได้ทันที แล้วเราจะนำเงินไปลงทุนหรือรอจังหวะการลงทุนต่อไปก็ได้ครับขึ้นกับกลยุทธ์แต่ละท่านเลย
แต่เราต้องรู้ก่อนว่า เรา พร้อมขาดทุนได้เท่าไร และกรุณารักษาวินัยการลงทุนของท่านไว้ด้วยนะครับ มันเป็นวิธีทำให้ท่านประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่า คนไม่มีวินัการลงทุน
โดยส่วนตัวแล้ว ผมตั้งไว้ว่า ผมจะไม่ยอมขาดทุน เกิน 10 % (เว้นช่วงออกจากตลาดไป 2 ปี) ดังนั้นผมเป็นคนที่ขาดทุนหุ้นน้อยมาก ถ้าเทียบกับพวกที่เคยเล่นหุ้นกัน (ผมขอใช้คำว่าลงทุนนะครับ) อาจมีบ้างที่ ตัดขาดทุนแล้ว หุ้นมันเด้งจากเราไป ถ้าเป็นอย่างนั้น ขอให้คิดว่า เราได้รักษาวินัยการลงทุนเราได้แล้ว นะครับ
จากกรณีความเสี่ยงด้านไม่ดีที่จะเกิดขึ้นในบทความที่ 1 ที่ผมได้กล่าวไว้
ผมขออนุญาติตัดกรณี -100% ทิ้งไปก่อนนะครับ แม้ความเสียหายรุนแรงสุดแต่โอกาศเกิดก็น้อยมากครับ
โอกาสเกิดคือ บริษัทล้มละลาย ซึ่งก็ควรดูให้ดีๆนะครับ เราสามารถดูได้จากงบการเงินบริษัทไว้อธิบายในโอกาสต่อไป
ก็เหลือ
ถ้าหุ้น - 5 % เป็น 9,500 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
ถ้าหุ้น - 10% เป็น 9,000 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
ถ้าหุ้น -50% เป็น 5,000 บาท เรารับความเสี่ยงนี้ได้ไหม
นั้นละครับ ความจริงอาจต้องแตกแยกกว่านี้อีก ให้ได้ครบทุกกรณี
แต่ผมจะให้คุณคิดว่า ความยอมรับผลการขาดทุนได้มากขนาดไหนก่อน มีเงินอยู่ 10,000 บาท ยอมขาดทุนเท่าไร แล้วค่อยมาดูกันว่าวิธีจำกัดความเสี่ยงคืออะไร
........................................................
........................................
...........................
..................
...........
.....
.
คิดว่าน่าจะได้คำตอบกันแล้ว
วิธีการจำกัดความเสี่ยง หลายคนอาจรู้จักแล้ว แต่ถ้ายังไม่รู้จัก ก็เรียกว่า ยังไม่ใช้นักลงทุนหรอกนะครับ
วิธีนั้นคือ Cut lose หรือ ตัีดขาดทุน
Cut lose คือการตัดขาดทุน คุณยอมขายหุ้นในราคาขาดทุนที่ยอมรับได้ ดีกว่าปล่อยให้ราคาหุ้นคุณเป็นไปตามยถากรรมโดยไม่รู้ว่ามันจะไปในทิศทางไหน
วิธีการทำง่ายๆ หลัก Cutlose หรือ ตัดขาดทุน คือ เราตั้งเป้า ตัดขาดทุนไว้ 10% ถ้าหุ้น 10,000 บาท ราคาตกมา 9,000 ก็ขายทิ้ง เอาเงิน 9000 ไปลงทุนในจังหวะอื่น
ซึ่งความเสี่ยงที่เกิดขึ้น มันอาจเด้งกลับไปที่เดิม หรือ ราคาดีกว่าเดิม ก็มีโอกาสเป็นไปได้ แต่นั้นเป็นสิ่งที่เราไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต แต่ที่แน่นอนปัจจุบัน คือราคามันขาดทุน แล้วความเสี่ยงนั้นก็มีโอกาสทำให้เราขาดทุนอีกได้
ซึ่งถ้าเราปล่อยตามยถากรรม เราอาจบอกได้ว่าเราเป็นนักลงทุนแบบพื้นฐาน(โดยจำเป็น) ก็ได้ แต่หลอกตัวเองนี้มันลำบากนะครับ
ถ้าเรายอมรับการขาดทุนได้ แล้วตัดใจ cutlose เรายังสามารถ หยุดการขาดทุนได้ทันที แล้วเราจะนำเงินไปลงทุนหรือรอจังหวะการลงทุนต่อไปก็ได้ครับขึ้นกับกลยุทธ์แต่ละท่านเลย
แต่เราต้องรู้ก่อนว่า เรา พร้อมขาดทุนได้เท่าไร และกรุณารักษาวินัยการลงทุนของท่านไว้ด้วยนะครับ มันเป็นวิธีทำให้ท่านประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่า คนไม่มีวินัการลงทุน
โดยส่วนตัวแล้ว ผมตั้งไว้ว่า ผมจะไม่ยอมขาดทุน เกิน 10 % (เว้นช่วงออกจากตลาดไป 2 ปี) ดังนั้นผมเป็นคนที่ขาดทุนหุ้นน้อยมาก ถ้าเทียบกับพวกที่เคยเล่นหุ้นกัน (ผมขอใช้คำว่าลงทุนนะครับ) อาจมีบ้างที่ ตัดขาดทุนแล้ว หุ้นมันเด้งจากเราไป ถ้าเป็นอย่างนั้น ขอให้คิดว่า เราได้รักษาวินัยการลงทุนเราได้แล้ว นะครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น