การวางแผนเรื่องของรายรับกับรายจ่ายป้องกันอาการสิ้นเดือนเหมือนสิ้นใจ
คืนวันศุกร์ต้นเดือนนั้นเป็นช่วงที่จราจรนั้นติดขัดเสมอมากมาย ไปตามห้างสรรพสินค้าก็นับเป็นช่วงที่คนมากเหลือเกินหรือร้านอาหารที่ดัง คนก็จะแน่นในคืนวันศุกร์ เป็นความเคยชินของมนุษย์เงินเดือนโดยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะวันที่เงินเดือนออก
แล้วช่วงไหนที่ไม่ค่อยใช้จ่าย เหมือนก่อนแม่ผมชอบร้องเพลง สิ้นเดือนเหมือนสิ้นใจ เงินหมดสิ้นไปในวันสิ้นเดือน ก็ทำให้เห็นภาพของมนุษย์เงินเดือนได้ชัดเจนอีกรูปแบบหนึ่ง
เรามาพูดถึุงการบริหารเงินครับ ปกติ ในช่วงวันเงินเดือนออก เรามักใช่จ่ายมากกว่าปกติ เพราะหลายปัจจัย
เช่น
ปลายเดือนทีแล้วกินแต่มาม่า เิงินเดือนออกชอฉลองหน่อยแล้วกัน
เงินมาแล้ว ไปฉลองกัน
อยากได้ ไอ้นั้น มาตั้งแต่เดือนทีแล้วละ เงินเดือนออกไปซื้อดีกว่า
ฯลฯ
เห็นไหมครับ อันนี้เหมือนกับเราไม่มีคำว่า วินัยทางการเิงิน คือ มีเงินเท่าไร ก็ใช้ไปเต็มตามอรรถภาพที่มี
มีเยอะก็ใช้เยอะมีน้อยก็ใช้น้อย ไม่มีก็ไม่ใช้ หรือ หนักที่สุด คือ ไม่มีก็ไปกู้เค้า
เห็นได้ว่า ถ้าเราใช้ชีวิตแบบนี้ไม่ว่า จะกี่เดือนๆ ก็ตาม ก็เป็นสิ้นเดือนเหมือนสิ้นใจ ตลอดทุกเดือนครับ
สิ่งที่มนุษย์เราลืมนึกไปว่า
รายได้มีวันเดียว แต่รายจ่ายมีทุกวัน อันนี้คือความจริงของมนุษย์เงินเดือน
การที่เราไม่มีวินัยการใช้เงิน ชีวิตก็จะเป็นลูกคลื่นครับ ต้นเดือน เฮไหนเฮนั้น แต่ปลายเดือน ที่ไร จะคิดถึงเมื่อไรเงินเดือนจะออกสักที
วิธีจัดการง่ายๆ ครับ
กลับไปตอนเด็กพ่อแม่ให้เิงินเราทุกวันๆ เราจึงไม่ต้องกลัวว่าเมื่อไร จะสิ้นเดือน หมดวันดีไม่ดี ก็ตอ้งรีบใช้เงินให้หมด เดี๋ยวเงินบูด
ตอนขึ้นมา เมื่อเรามีรายได้ ให้เรากับไปกำหนดเลยว่าแต่ละวันจะใช้เงินเท่าไร จะใช้วัน 200 500 หรืออะไรก็ว่ากันไป อย่างน้อยเราต้องกำหนดชีวิตประจำวันให้ได้ซะก่อนนะครับ ถึงคิดว่าจะไปทำอย่างอื่น
แล้วถ้าใช้ ATM ก็ กดเงินทุกวันตามที่ตัวเองใช้(แบบที่ผมปฎิบัติ เพราะกดมาเท่าไร บางทีมันก็ใช้เท่านั้น) หรือถ้าใครคุมได้มากกว่านั้น ก็กดเิงินมาเพื่อหลายวันหน่อยก็ได้
ส่วนวิธีคิดวงเงินที่ใช้ต่อวัน แบบง่ายๆ เลย คือ
ง่ายคือ เงินเดือนหาร 30 วัน ได้เท่าไร ก็ใช้วันละเท่านั้นละครับ หรืออยากซับซ้อนหน่อยก็
อีกแบบก็คือ คิดตามรายจ่าย
อย่างน้อยเราควรต้องมี ข้อ 1 นะครับ ได้รู้อัตราที่ควรใช้เงินต่อวันว่าเป็นเท่าไร
ส่วนถ้ามันเกิดไม่พอ เราอาจต้องไปหารายได้เสริม หรือ ลดค่าใช้จ่ายบ้าง ตามที่จะทำกันได้นะครับ
แบบนี้ชีวิตก็น่าจะอยุ่ได้อย่างมีวินัยทางการเงินนะครับ
แล้วช่วงไหนที่ไม่ค่อยใช้จ่าย เหมือนก่อนแม่ผมชอบร้องเพลง สิ้นเดือนเหมือนสิ้นใจ เงินหมดสิ้นไปในวันสิ้นเดือน ก็ทำให้เห็นภาพของมนุษย์เงินเดือนได้ชัดเจนอีกรูปแบบหนึ่ง
เรามาพูดถึุงการบริหารเงินครับ ปกติ ในช่วงวันเงินเดือนออก เรามักใช่จ่ายมากกว่าปกติ เพราะหลายปัจจัย
เช่น
ปลายเดือนทีแล้วกินแต่มาม่า เิงินเดือนออกชอฉลองหน่อยแล้วกัน
เงินมาแล้ว ไปฉลองกัน
อยากได้ ไอ้นั้น มาตั้งแต่เดือนทีแล้วละ เงินเดือนออกไปซื้อดีกว่า
ฯลฯ
เห็นไหมครับ อันนี้เหมือนกับเราไม่มีคำว่า วินัยทางการเิงิน คือ มีเงินเท่าไร ก็ใช้ไปเต็มตามอรรถภาพที่มี
มีเยอะก็ใช้เยอะมีน้อยก็ใช้น้อย ไม่มีก็ไม่ใช้ หรือ หนักที่สุด คือ ไม่มีก็ไปกู้เค้า
เห็นได้ว่า ถ้าเราใช้ชีวิตแบบนี้ไม่ว่า จะกี่เดือนๆ ก็ตาม ก็เป็นสิ้นเดือนเหมือนสิ้นใจ ตลอดทุกเดือนครับ
สิ่งที่มนุษย์เราลืมนึกไปว่า
รายได้มีวันเดียว แต่รายจ่ายมีทุกวัน อันนี้คือความจริงของมนุษย์เงินเดือน
การที่เราไม่มีวินัยการใช้เงิน ชีวิตก็จะเป็นลูกคลื่นครับ ต้นเดือน เฮไหนเฮนั้น แต่ปลายเดือน ที่ไร จะคิดถึงเมื่อไรเงินเดือนจะออกสักที
วิธีจัดการง่ายๆ ครับ
กลับไปตอนเด็กพ่อแม่ให้เิงินเราทุกวันๆ เราจึงไม่ต้องกลัวว่าเมื่อไร จะสิ้นเดือน หมดวันดีไม่ดี ก็ตอ้งรีบใช้เงินให้หมด เดี๋ยวเงินบูด
ตอนขึ้นมา เมื่อเรามีรายได้ ให้เรากับไปกำหนดเลยว่าแต่ละวันจะใช้เงินเท่าไร จะใช้วัน 200 500 หรืออะไรก็ว่ากันไป อย่างน้อยเราต้องกำหนดชีวิตประจำวันให้ได้ซะก่อนนะครับ ถึงคิดว่าจะไปทำอย่างอื่น
แล้วถ้าใช้ ATM ก็ กดเงินทุกวันตามที่ตัวเองใช้(แบบที่ผมปฎิบัติ เพราะกดมาเท่าไร บางทีมันก็ใช้เท่านั้น) หรือถ้าใครคุมได้มากกว่านั้น ก็กดเิงินมาเพื่อหลายวันหน่อยก็ได้
ส่วนวิธีคิดวงเงินที่ใช้ต่อวัน แบบง่ายๆ เลย คือ
มนุษย์เงินเดือน
1. คิดจ่ายรายได้
เงินเดือน/30
ง่ายคือ เงินเดือนหาร 30 วัน ได้เท่าไร ก็ใช้วันละเท่านั้นละครับ หรืออยากซับซ้อนหน่อยก็
2. คิดจ่ายรายได้หักเงินออม
(เงินเดือน-เงินออมประจำ)/30
อีกแบบก็คือ คิดตามรายจ่าย
3. คิดจ่ายรายได้หักเงินออม
(รายจ่ายประจำต่อวัน*30)+รายจ่ายอื่นๆต่อวัน
อย่างน้อยเราควรต้องมี ข้อ 1 นะครับ ได้รู้อัตราที่ควรใช้เงินต่อวันว่าเป็นเท่าไร
ส่วนถ้ามันเกิดไม่พอ เราอาจต้องไปหารายได้เสริม หรือ ลดค่าใช้จ่ายบ้าง ตามที่จะทำกันได้นะครับ
แบบนี้ชีวิตก็น่าจะอยุ่ได้อย่างมีวินัยทางการเงินนะครับ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น